ผังงานเบื้องต้น คือ โปรแกรมของคอมพิวเตอร์ได้รับคำสั่งให้เขียนโปรแกรม และสามารถเลือกใช้ผังงาน (flowchart) หรือรหัสเทียม (seudocode) ก็ได้เพราะผังงานนั้นคือภาพที่แสดงลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหา ส่วนรหัสเทียมก็สามารถสื่อความหมายเช่นเดียวกันโดยใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องถูกต้องตามวากยสัมพพันธ์ของภาษาที่เขียนโปรแกรมเข้าใจ ดังนั้นแทบทุกโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นจะประกอบด้วย การนำเข้า(input) การประมวลผล (process) และการนำออก(output)
เช่นในโปรแกรม
get number
answer = number*2
print answer
- การเขียนผังงานในลักษณะนี้เป็นการแยกสามขั้นตอนดดย การนำเข้าใช้กรอบสี่เหลี่ยมด้านขนานล้อมรอบและข้ความสั่งซึ้งเขียนเป็นภาษาอังกฤษ
สัญลักษณ์การนำข้อมูลเข้า |
- ข้อความสั่งประมวลผผล คือการกำหนดตัวแปร หือการคำนซณทางคณิตศาสตร์ซึ่งเขียนแทนด้วยสี่เหหลี่ยมผืนผ้าล้อมรอบด้วยคำสั่ง
สััญลักษณ์การประมวลผล |
- การนำออกใช้สัญลักษณ์เหมือนกับการนำเข้า คือ สี่เหลี่ยมด้านขนานล้อมรอบข้อความสั่ง
สัญลักษณ์การนำข้อมูลออก |
การเขียนผังงานในลักษณะนี้เป็นไปตามโครงสร้าง จะต้องใชู้ครเพื่อเชื่อความสัมพันธ์ระหว่างข้อความสั่งเหล่านี้ และควรเขียนผังงานจากบนลลงล่่าง หรือจากซ้ายไปขวา
ผังงานที่สมบูรณ์ควรมีคำสั่งให้เริ่งและหยุด โปรแกรมวึ่งเขียนไว้ในกรอบที่มีลักษณะคล้ายลู่วิ่งแข่งขัน
ผังงานี้จะใช้ได้กับทุก๓าษาโปรแกรม และใช้ภาษาที่ถนัดมากที่สุด
ตัวอย่างผังงานที่สมบุรณ์
ผังงานที่สมบุรณ์ของโปรแกรม |
รหัสเทียม
Start
Set get number
End
Start
Set get number
answer = number*2
output answerEnd
บรรณานุกรม
นิรุจ อำนวยศิลป์. (2546).ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พิมพ์ครั้งที่ 6 (แก้ไขเพิมเติม) . กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์.(2547). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น
อ้างอิงบทที่ 3 หน้าที่ 45 - 48
นิรุจ อำนวยศิลป์. (2546).ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พิมพ์ครั้งที่ 6 (แก้ไขเพิมเติม) . กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์.(2547). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น
อ้างอิงบทที่ 3 หน้าที่ 45 - 48