วันอาทิตย์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

รูปแบบการเขียนผังงานแบบทำซ้ำ

รูปแบบการเขียนผังงานแบบทำซ้ำ

     การเขียนผังงานแบบทำซ้ำโดยใช้ Do-While
  การทำงานในแบบ Do-While เป็นการทำไปเรื้อยจนกว่าจะครบรอบหรือสิ้นสุดการทำงาน ซึ้งมีอยู่2 แบบ


การสร้างผังงานแบบทำซ้ำ Do-While

    การทำซ้ำโดยใช้ Do-Until



การสร้างผังงานแบบทำซ้ำ Do-Until


บรรณานุกรม

นิพนธ์ บาดกลาง. (2005). วอฟต์แวร์  (Online)
พิมลพรรณ ลีลาภัทรพันธ์ุ. (2004). ซอฟต์แวร์และโปรแกรม
นิรุจ อำนวยศิลป์. (2546). คู่มือเขียนดปรแกรมด้วยภาษา C 
ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
อ้างอิง บทที่ 7   หน้า  131, 141






 

   

วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ชนิดของตัวแปร

ชนิดตัวแปร
    ในภาษาของคอมพิวเตอร์นั้นโดยทั่วไปมีตัวแปรอย่างน้อยสองชนิด ชนิดแรกคือตัวแปรที่ใช้กับ
ตัวเลข เรียกว่า ตัวแปรเลข และชนิดที่สองคือตัวแปรที่ใช้กับตัวอักษรเรียกว่าตัวแปรอักขระ


     1. ตัวแปรตัวเลข
         ตัวแปรตัวเลข (numeric variable) เป้นตัวแปรที่ใช้แทนตัวเลข เช่น ประโยค
         ทั้งตัวแปร number และ answer เป็นตัวแปรตัสเลข เพราะตัวแปรทั้ง 2 มีค่าเป็นตัวเลข ซึ่งอาจจะเป็น 6,3,150,75, -18 หรือ -9

    2. ตัวแปรอักขระ
        ตัวอักขระ (character variable)  ที่ใช้กับตัวอักษร หรือ เครื่องหมายต่างๆ ตัวแปรชนิดนี้อาจเป้นตัวแปรข้อความ ( text variable) หรือตัวแปรสายอักขระ (sring veriable) เช่น   name = " washington"
   
   ข้อมูลในระบบที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมมรทั้งหมด 4 ชนิดและโอเปอเรเตอร์

     1.  Integer คือ จำนวนเต็ม
     2.  Real     คือ ทศนิยม
     3.  string    คือ ข้อความ  "  "
    4.   Char    คือ ตัวอักษร  "
 

บรรณานุกรม
     นิรุจ อำนวยศิลป์. (2546).ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
     พิมพ์ครั้งที่ 6 (แก้ไขเพิมเติม)  . กรุงเทพมหานคร :  ราชบัณฑิตยสถาน
    
     อ้างอิงบทที่ 3 หน้าที่ 57 

วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ผังงานและชนิดของตัวแปร


ผังงานเบื้องต้น

      ผังงานเบื้องต้น คือ โปรแกรมของคอมพิวเตอร์ได้รับคำสั่งให้เขียนโปรแกรม และสามารถเลือกใช้ผังงาน (flowchart) หรือรหัสเทียม (seudocode)  ก็ได้เพราะผังงานนั้นคือภาพที่แสดงลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญหา ส่วนรหัสเทียมก็สามารถสื่อความหมายเช่นเดียวกันโดยใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องถูกต้องตามวากยสัมพพันธ์ของภาษาที่เขียนโปรแกรมเข้าใจ  ดังนั้นแทบทุกโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นจะประกอบด้วย  การนำเข้า(input)   การประมวลผล (process)  และการนำออก(output)  
เช่นในโปรแกรม 
                                  get number
                                  answer = number*2
                                  print answer
    - การเขียนผังงานในลักษณะนี้เป็นการแยกสามขั้นตอนดดย การนำเข้าใช้กรอบสี่เหลี่ยมด้านขนานล้อมรอบและข้ความสั่งซึ้งเขียนเป็นภาษาอังกฤษ



สัญลักษณ์การนำข้อมูลเข้า

   - ข้อความสั่งประมวลผผล คือการกำหนดตัวแปร หือการคำนซณทางคณิตศาสตร์ซึ่งเขียนแทนด้วยสี่เหหลี่ยมผืนผ้าล้อมรอบด้วยคำสั่ง 

สััญลักษณ์การประมวลผล


   - การนำออกใช้สัญลักษณ์เหมือนกับการนำเข้า คือ สี่เหลี่ยมด้านขนานล้อมรอบข้อความสั่ง


สัญลักษณ์การนำข้อมูลออก

     การเขียนผังงานในลักษณะนี้เป็นไปตามโครงสร้าง จะต้องใชู้ครเพื่อเชื่อความสัมพันธ์ระหว่างข้อความสั่งเหล่านี้ และควรเขียนผังงานจากบนลลงล่่าง หรือจากซ้ายไปขวา

   ผังงานที่สมบูรณ์ควรมีคำสั่งให้เริ่งและหยุด โปรแกรมวึ่งเขียนไว้ในกรอบที่มีลักษณะคล้ายลู่วิ่งแข่งขัน
   ผังงานี้จะใช้ได้กับทุก๓าษาโปรแกรม และใช้ภาษาที่ถนัดมากที่สุด  
    ตัวอย่างผังงานที่สมบุรณ์

ผังงานที่สมบุรณ์ของโปรแกรม






   รหัสเทียม
   Start
   Set get number
   answer = number*2
   output answer
   End

    บรรณานุกรม
     นิรุจ อำนวยศิลป์. (2546).ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
     พิมพ์ครั้งที่ 6 (แก้ไขเพิมเติม)  . กรุงเทพมหานคร :  ราชบัณฑิตยสถาน
     โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์.(2547). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร :          ซีเอ็ดยูเคชั่น
     อ้างอิงบทที่ 3 หน้าที่ 45 - 48
  

การเขียนผัง (flowchart)และสัญลักษณ์



การเขียนผัง (flowchart)

       ผังงาน (flowchart) เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนด้วยสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมเป็นหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน  กการเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมมากกกว่าแบบอื่นๆ  เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เป็นที่ขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่ายและในการเขีียนผังงานสามารถแบ่งออกเป็น 3 แบบ ดังนี้
     

1. ผังงาน (Flowchart)  คือ เป็นการเขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมต่อและหัวลูกศรบอกขั้นตอน
         การทำงาน
2. ผังงานระบบ (System flowchart) คือ เป็นผังงานที่แสดงขั้นตอนการปฎิบัติงานหลักๆโดยแสดงถึงตัว
         งานที่หลักที่ต้องทำในระบบ
3. ผังงานโปรแกรม(Program flowchart)  คือ เป็นผังงานที่แสดงรายละเอียดของโปปรแกรมแสดงถึงขั้น
     ตอนต่างๆ อย่างละเอียด สามารถสื่อถึงการเขียนโปรแกรแต่ละขั้นตอนได้อย่างชัดเจน

สัญลักษณ์ (flowchart)


          บรรณานุกรม
       นิรุจ อำนวยศิลป์. (2546).ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
       พิมพ์ครั้งที่ 6 (แก้ไขเพิมเติม)  . กรุงเทพมหานคร :  ราชบัณฑิตยสถาน
       โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์.(2547). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร :          ซีเอ็ดยูเคชั่น
       สารานุกรมวิถีพีเดีย.(2005) .Algorithm.{Pnline}. Available HTTP:
        อ้างอิงหน้า  32 - 34

วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การเขียนอัลกอลิทึม

       การเขียนอัลกอริทึ่ม    คือ  การวางแผนจัดลำดับในการแก้ไขปัญหาซึ่งจะมีกระบวนการในการเขียนและวิเคราะห์ที่แตกต่างกันออกไปหรือการเขียนที่ไม่แน่นอนตายตัว เพราะบางครั้งเราอาจเรียนในหลายรูปลักษณ์ที่มีการนำมาผสมผสานกันซึ่งอาจมีวิธีการเขียนที่แตกต่างกันออกไป   

     การกำหนดตัวแปรที่แทนด้วยตัวอักษรหรือตัวเลข
1. Integer    คือ  จำนวนเต็ม
  - ตัวเลข จำนวนเต็ม 0,9  
2. Real  คือ ทศนิยม
  - ตัวเลข ทศนิยม  0.000
3. String คือ ข้อความ
 - ตัวอักษรที่มากกว่า 1 ตัวอักษร "564435109"
4.  Char คือ ตัวอักษร 
 -   ค่าตัวอักษรที่อยู้ภายใต้เรื่องหมาย 'A'
 
   
         บรรณานุกรม
     ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัยพร ปั้นเก่า
     ผุ้ช่วยศาสตราจารย์ธนาวรรณ  จันทรัตนไพบูลย์
     คอมพิวเตอร์และะการพัฒนาโปรแกรม
     ภาควิชาวิศกรรมคอมพิวเตอร์     พิมพ์ครั้ง 4  เมษายน 2533
     อ้างอิง บทที่  6   หน้า 1 และบทที่ 7 หน้า 1